-
Notifications
You must be signed in to change notification settings - Fork 3
Commit
This commit does not belong to any branch on this repository, and may belong to a fork outside of the repository.
- Loading branch information
1 parent
78b6fdd
commit 3b96c64
Showing
82 changed files
with
1,006 additions
and
0 deletions.
There are no files selected for viewing
24 changes: 24 additions & 0 deletions
24
posts/2023/101-digital-textile-printing-defect-classification.md
This file contains bidirectional Unicode text that may be interpreted or compiled differently than what appears below. To review, open the file in an editor that reveals hidden Unicode characters.
Learn more about bidirectional Unicode characters
Original file line number | Diff line number | Diff line change |
---|---|---|
@@ -0,0 +1,24 @@ | ||
--- | ||
date: "31-7-24" | ||
title: "Digital Textile Printing Defect Classification" | ||
builder: "Settapun Laoaree" | ||
builder_info: "มัธยมศึกษาปีที่ 4.0 -- กรุงเทพมหานคร" | ||
thumbnail: "/images/2023/101/01.jpg" | ||
links: | ||
github: "https://github.com/ShokulSet/DTPDC-DigitalTextilePrintingDefectClassification" | ||
facebook: "https://www.facebook.com/aibuildersx/posts/pfbid0xBb1BhnsLYe4w8jC6vBNRLQeoouQy4GTyLjtwkAXKBGNYzgbLWLPEXLFcWBkKkUEl" | ||
blog: "https://medium.com/@settapun.work/digital-textile-printing-defect-classification-for-industrial-752d5df8e4a8" | ||
--- | ||
|
||
![image](/images/2023/101/01.jpg) | ||
|
||
- โมเดลแยกรูปภาพพิมพ์ดิจิตอลที่มีตำหนิ vs ไม่มีตำหนิด้วย resnet-50 | ||
- แรงบันดาลใจจากการคุณพ่อที่ทำธุรกิจพิมพ์ผ้าดิจิตอลบ่นให้ฟังถึงเรื่องงานที่ออกมาสภาพมีตำหนิ ได้ลองสืบค้นไปหาจนเจอต้นตอก็ได้พบว่าปัญหาอยู่ในส่วนของการพิมพ์ที่ถ้าเกิดว่าหัวพิมพ์มีปัญหาแล้วไม่เข้าแก้อะไรมันในทันที ตัวเครื่องพิมพ์ก็จะพิมพ์อย่างงั้นต่อไปเรื่อยๆจนกว่ากระดาษจะหมด และเสียส่วนนั้นไปฟรีๆ จึงได้เกิดเป็นโครงงานนี้ขึ้นมาเพื่อลดการสูญเสียนั้นไป | ||
- ชุดข้อมูลภาพจากโรงงานที่บ้าน 273 รูปภาพ เป็นรูปที่เป็นงานเสีย 123 รูป และงานดี 150 รูป | ||
- ทดสอบการ augmentation โดยการเปลี่ยนรูปเป็นขาวดำเนื่องจากตำหนิส่วนใหญ่ไม่เกี่ยวกับสี แต่พบว่า รูป RGB มีความแม่นยำมากกกว่าที่ 0.85 เทียบกับ Grayscale ที่ 0.75 บน validation set | ||
- ทำการทดสอบใน test set ได้ความแม่นยำมากกว่าคุณพ่อที่เป็นผู้เชี่ยวชาญ0.89 vs 0.75 | ||
|
||
### แรงจูงในในการเข้าร่วมโครงการ (จากใบสมัครเข้าร่วมเมื่อ 10 สัปดาห์ที่แล้ว) | ||
|
||
> สวัสดีครับผมโชกุน ตอนแรกผมเป็นคนที่สนใจด้านคอมมาระดับหนึ่ง จนถึงจุดนึงก็ได้เริ่มลองเขียนโปรแกรมมาบ้างได้ลองใช้ภาษาหลายๆอย่างจนได้เรียนรู้อะไรมาเยอะ และได้ลงพวกงานด้าน tech ต่างๆในไทยเพื่อไปหาความรู้มาเพิ่มเติมในคลังความรู้ตัวเอง จนกระทั้งมีอยู่งานหนึ่งที่ผมเกิดต้องใช้ ai เข้ามาช่วยในการตรวจจับสัญลักษณ์ในป้ายสารเคมี ทำให้ผมได้ลองใช้ตัว yolo v.5 มาเพื่อการ image processing แต่ถึงจะว่าอย่างงั้นที่ผมทำก็มีแค่ลอกๆโค็ดในเน็ตจนมันทำงานได้ พื้นฐานด้าน ai จริงๆก็ยังถือว่ายังไม่มากเท่าไหร่ จนมาถึงปีที่แล้วผมได้มีโอกาสไปดูผลงานจากผู้เข้าร่วม ai builder รุ่นที่ผ่านมาที่จัดงานในหอศิลป์ ผมก็ได้เห็นงานเจ๋งๆมากมายจนผมอยากลองทำบ้าง เลยตั้งใจมาสมัครค่าย ai builder ปีนี้ดูเพราะอยากเข้าไปเรียนรู้เรื่องของ ai อยากใช้และพัฒนาให้เข้าใจจริงๆและนำความรู้เหล่านี้มาพัฒนาสิ่งต่างๆรอบตัวให้ดียิ่งขึ้น และยังมีเรื่อง mentor สามารถมาช่วยแนะนำผมอีก ทำให้สิ่งที่ผมอยากทำจริงอาจจะสำเร็จง่ายกว่าที่คิดก็ได้ผมเป็นคนที่ชอบด้าน tech มากๆขนาดที่ว่าถ้าไปดูใน portfolio จากเว็ปของผมที่ให้ไว้ข้างบนก็จะมีแต่เรื่องด้าน tech ถ้ารับผมเข้าโครงการนี้ผมรับรองเลยว่าผมจะต้องตั้งใจทำโปรเจ็คให้ถึงที่สุดแน่ เพราะผมเป็นคนที่สนใจด้านนี้อยู่แล้ว แล้วจากข้อที่แล้วขยายความเพิ่มเติมเรื่องของงานที่ผมเคยใช้ ai ไปบ้างคืองาน robocup recuse junior ในภารกิจที่จะต้องจำแนกประเภทป้ายด้วย ai ทำให้ผมได้ลองศึกษาหาข้อมูลจนงานสำเร็จมาแล้ว ผมเลยคิดว่าถ้าผมได้เข้าโครงการนี้คงจะทำให้ผมได้เข้าใจอะไรได้ง่ายกว่าคนอื่นๆแน่ แล้วผมยังมีเรื่องที่ผมอยากลองใช้ ai ดูเพราะเรื่องของงานที่บ้านผมเป็นเรื่องเกี่ยวกับเสื้อผ้าแล้วมีขั้นตอนหนึ่งที่เกิดปัญหาได้บ่อยและง่ายจนทำให้งานเสียหาเป็นมูลค่ามาก คือเรื่องตำหนิในสินค้า ผมจนคิดว่าถ้าผมสามารถทำ ai มาตรวจจับตำหนิมาตั้งแต่ในขั้นตอนการผลิตเลยจะทำให้เราช่วยในด้านนี้ได้มาก ผมจึงคิดว่าผมมีปัญหาที่อยากจะลองแก้ด้วย ai เหมือนกับจุดประสงฆ์ของโครงการนี้เหมือนกัน | ||
|
This file contains bidirectional Unicode text that may be interpreted or compiled differently than what appears below. To review, open the file in an editor that reveals hidden Unicode characters.
Learn more about bidirectional Unicode characters
Original file line number | Diff line number | Diff line change |
---|---|---|
@@ -0,0 +1,26 @@ | ||
--- | ||
date: "31-7-24" | ||
title: "pimthaigans" | ||
builder: "Supawit Marayat" | ||
builder_info: "มัธยมศึกษาปีที่ 5.0 -- เชียงราย" | ||
thumbnail: "/images/2023/102/01.jpg" | ||
links: | ||
github: "https://github.com/Beamlnwza/pimthaigans" | ||
facebook: "https://www.facebook.com/aibuildersx/posts/pfbid0RQL33TVwSdGyiYrxPvKrPXw19GBtMHvxBKz1xBjmKRhcRfYgsfKiSnZbtQTc1Nrnl" | ||
blog: "https://medium.com/@supawitmarayat/pimthaigans-an-model-try-to-synthesis-thai-typo-f19a2e7d0bce" | ||
--- | ||
|
||
![image](/images/2023/102/01.jpg) | ||
|
||
- โมเดลสร้างฟอนต์ลายมือภาษาไทยด้วย generative adversarial network เพื่อให้ได้ฟอนต์ที่สดใหม่ สไตล์ไม่เหมือนใคร | ||
- ชุดข้อมูลรวบรวมจาก google fonts และเว็ปฟอนต์ขวัญใจคนไทย thaifaces และ ฟอนต์.คอม; เรียนรู้ว่าฟอนต์ภาษาไทยนั้นนอกจากพยัญชนะ 44 ตัว สระมี 16 ตัว วรรณยุกต์ 5 และ ตัวเลขภาษาไทยอีก 10 ตัว แล้วยังมีตัวอักษรลับ(?)อีก 13 ตัว!! | ||
- การเปลี่ยนฟอนต์เป็นรูปภาพเพื่อฝึกสอนโมเดลพบปัญหาสระ-วรรณยุกต์บางตัวไม่อยู่ตรงกลางรูปภาพจึงต้องเขียนกฎเปลี่ยนตำแหน่งเล็กน้อย | ||
- ได้เป็นชุดข้อมูล 39,600 รูปภาพ 442 รูปแบบต่อสไตล์ | ||
- แก้ปัญหา model collapse ด้วยการเพิ่ม iteration ในการเทรนไปเป็น8 โมเดล (เทรนโมเดลละ 2 ชั่วโมง) แทน | ||
- ข้อสังเกต loss function ของโมเดล discriminator ทายยากสำหรับตัวอักษรที่คล้ายๆกัน เช่น พ/ผ | ||
- ยังมีปัญหาบางตัวที่บางครั้ง model สร้างรูปฟอนต์ ออกมาแล้วมันบางสุดๆบางมากๆจนแถบไม่เห็น หรือ บางที่อาจไหลเกือบออกจอซึ่งมีจำนวนไม่มาก ทั้งนี้อาจจะต้องแก้ด้วยการสร้างชุดข้อมูลให้มากขึ้น แก้น้ำหนัก และตำแหน่งต่อไป | ||
|
||
### แรงจูงในในการเข้าร่วมโครงการ (จากใบสมัครเข้าร่วมเมื่อ 10 สัปดาห์ที่แล้ว) | ||
|
||
> ผมได้รับการแนะนำมาจากรุ่นพี่ที่ผมรู้จัก รุ่นพี่ได้บอกเรื่องของกิจกรรมภายในที่เป็นการทำโครงงาน ทำโปรเจค และอื่นๆ เนื่องจากผมทำโครงงานด้านนี้อยู่แล้วผมจึงสนใจมาก และ การได้เข้าร่วมโครงการจะทำให้ผมนำความรู้ทั้งเรื่อง ai, computer หรือ การทำงานเป็นทีมการวางแผนงานต่างๆได้ดียื่งขึ้นครับสำหรับผมแล้วผมสนใจในด้านคอมพิวเตอร์มาตั้งแต่ ม.ต้น เรียนได้ว่าเป็นpassion เลย ตอน ม.ปลายผมจึงได้เริ่มทำโครงงานคอมพืวเตอร์แล้วพบว่า คอมพิวเตอร์ไม่ใช้แค่การเขียนโปรแกรม มันยังมี field ต่าๆเยอะมากหมายแต่สิ่งที่ผมสนใจมากที่สุดคิอaiสำหรับผมแล้ว ai เป็นอนาคตของพวกเราครับ สำหรับผมแล้ว ผมชื่นชอบมากๆครับ ตอน ม ปลาย ผมได้ทำโครงงาน com sci ทำให้ผมได้รู้พื้นฐานของ ai เช่นการทำ data prep data augmentation และ metrics and scoring ในด้าน image classification สิ่งที่ผมทำมาผมรู้สึก enjoy กับการนั่งอ่าน paper หรือ งานวิจัยต่างๆ สนุกที่ได้ทดลองทำมันครับ! | ||
|
Oops, something went wrong.